วันอังคารที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 15 วันที่ 27 กันยายน 2554

อาจารย์สรุปเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนมาทั้งหมด
        การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

-หลักการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์

-การสอนแบบโครงการ

-ความหมายวิทยาศาสตร์

-สื่อวิทยาศาสตร์

-ทักษะวิทยาศาสตร์

-ของเล่นวิทยาศาสตร์

-การเขียนแผนการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์

-การทำโครงการวิทยาศาสตร์

-การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์

-การจัดนิทรรศการ

-การประเมินทางวิทยาศาสตร์


  • การสังเกต เครื่องมือ : แบบประเมิน/แบบบันทึกการสังเกต
  • สนทนา/ซักถาม เครื่องมือ : แบบสอบถาม/แบบบันทึก
  • ผลงาน/ชิ้นงานของเด็ก
ครั้งที่ 14 วันที่ 20 กันยายน 2554

อาจารย์เปิดตัวอย่างงานวิจัยให้ดู
            ประสบการณ์สำคัญ (โอกาสที่เด็กได้กระทำในการกระทำนั้นๆ)
1.            การแยกแยะ
2.            สังเกต
3.            การวัด
4.            สื่อความหมาย
5.            กระทำต่อวัตถุ
6.            จัดหมวดหมู่

ชนิด
กล้วยน้ำละว้า
กล้วยไข่
กล้วยเล็บมือนาง

ลักษณะ

เปลือกเหลือง
เปลือกเหลือง
เปลือกเหลือง
เนื้อแน่น
เนื้อเหลือง
เนื้อขาว
ลูกใหญ่
ลูกเล็ก
ลูกเล็กงอ


ความรู้ที่ได้รับ



ครั้งที่ 13 วันที่ 13 กันยายน 2554

วันนี้อาจารย์ให้ส่งแผนกลุ่ม โดย กลุ่มของดิฉัน เขียนแผน เรื่องหน่วยกล้วย และอาจารย์ถามว่าเรื่องที่เราเอามานั้นเอามาจากไหน หัวข้อเรื่องที่เราจะนำมาสอนเราก็ต้องดูจาก สาระการเรียนรู้ ซึ่งประกอบไปด้วย
1.            สิ่งที่อยู่รอบตัวเด็ก
2.             เรื่องราวเกี่ยวกับเด็ก
3.             บุคคลและสถานที่
4.            ธรรมชาติรอบตัว
 และในแผนการสอนมีส่วนประกอบอะไรบ้างที่เด็กต้องเรียนรู้ สิ่งที่เด็กต้องเรียนรู้ มีดังนี้
1.            วัตถุประสงค์
2.            สารการเรียนรู้
3.            ประสบการณ์สำคัญ
4.            กิจกรรมการสอน
          - ขั้นนำ
          - ขั้นสอน
          - ขั้นสรุป
สมรรถณะของเด็กประกอบไปด้วย
1.            ด้านร่างกาย : การปีนป่าย การเคลื่อนไหว
2.            อารมณ์/จิตใจ : แสดงความรู้สึก รับรู้ การกระทำ
3.            สังคม : การทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น แบ่งปัน
4.            ภาษา : การพูด การสื่อสาร
5.            วิทยาศาสตร์ :  การให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
6.            คณิตศาสตร์ : การวัด คาดคะเน
7.            สร้างสรรค์ :  การทำงานศิลปะสร้างสรรค์ จินตนาการ
ประสบการณ์สำคัญสำคัญของเด็กประกอบไปด้วย
1.            กิจกรรมการเคลื่อนไหว
2.            กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ( ด้านสติปัญญา ทักษะที่สำคัญ )
3.            กิจกรรมกลางแจ้ง
4.            กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
5.            กิจกรรมเสรี
6.            กิจกรรมเกมการศึกษา




ครั้งที่ 12 วันที่ 6 กันยายน 2554

ส่งงาน ของเล่นจากแกนทิชชู และแผนการสอนแบบโครงการ
งานอีก 1 ชิ้น เขียนแผนการสอนมา 1 สัปดาห์ เป็นกลุ่มๆ ละ 5 คน




ดู VCD หนูจ๋า
น้ำเป็นส่วนประกอบของร่างกาย
การทอดลอง > เอกแครรอทมาหันแล้วปั่น มีน้ำออกมา
ร่างกาย น้ำ 70%
ผักผลไม้ น้ำ 90%
ร่างกายขาดน้ำไม่ได้ ทำให้อ่อนเพลีย
ปรับสมดุลร่างกาย โดยการดื่มน้ำ
มนุษย์ขาดน้ำได้ 3วัน
อูฐขาด้ำได้ 10 วัน

น้ำมี 3 สถานะ
ของแข็ง
เหลว คือ น้ำที่เราดื่ม
ก๊าซ คือ ไอน้ำ

การทอดลอง > ต้มน้ำให้เดือด จนเหลว กลายเป็นไอ เอาจานมาวางใส่น้ำแข็งมาวาง จะมีหยดน้ำ
การเปลี่ยนสถานะของเหลว กายเป็นไอ
โมเลกุลน้ำ
โมเลกุลน้ำแข็ง
น้ำเกลือมีความหนาแนนกว่าน้ำธรรมดา

ฝน คือ ไอน้ำที่ลอยตัวขึ้นไปบนฟ้าแล้วรวมตัวกันกลายเป็นก้อนเมฆ

ความกดดันของน้ำ
น้ำลึกความกดดันยิ่งมาก เช่น เอาน้ำใส่ขวดให้เต็มแล้วจะรู 3 ระดับ ในแนวเดียวกัน น้ำแต่ละรู้จะพุ่งด้วยความไกลต่างกัน เช่น การสร้างเขื่อน

ระดับน้พเท่ากันเพราะแรงดันเท่ากัน มันจะรักษาระดับ เช่น การสร้างบ้าน

แรงดึงผิว

วัตถุสามารถลอยตน้ำในวัตถุที่ไม่หนักมาก เพราะมีแรงตึงน้ำที่ยืดหยุ่น

วันพฤหัสบดีที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2554

ครั้งที่11วันที่ 30 สิงหาคม 2554

วิทยาศาสตร์
สิ่งที่อยู่รอบตัวเรา
ผลิตจากธรรมชาติ
มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม > ต้นไม้ > ขยะมีผลต่อ สภาพแสดล้อม

แกรนทิชชู > การแก้ปัญหาทางทรัพยากร 1.อย่าใช้เยอะ 2.นำกลับมาใช้ใหม่ 3.ประยุคก์ 4.ขาย

1.เริ่มโครงการ
-หาหัวเรื่อง > ให้เด็กนำเสนอ พูด , เขียน/วาด ชื่อเรื่อง , เลือก / ทำเครื่องหมาย
-หนูอยากรู้อะไร >ถาม ตอบ
-ทำอย่างไร >สถานที่ คน กิจกรรม
-ทบทวนประสบการณ์เดิม
ครั้งที่ 10วันที่23 สิงหาคม 2554
ความรู้ที่ได้
    วัสดุเหลือใช้

  • หลอด
  • ปากกา
  • กระดาษ
  • กล่องลัง
  • กล่องยาสีฟัน
  • กระป๋อง
  • แก้วน้ำ
  • แกนทิชชู
  • ลัง
  • ฝาขวดน้ำ
วัสดุ
ภาชนะ
แกนทิชชู
กล่องนม
ฝาขวดน้ำ
กล่องยาสีฟัน
หลอด
กระป๋อง
ปากกา
ลัง
กระดาษ
แก้ว


กิจกรรม
1.            การกระทำ   ประสานสัมพันธ์
2.            คิดสร้างสรรค์ => คิดริเริ่ม  คิดยืดหยุ่น  คิดคล่องแคล่ว  คิดละเอียดละออ
3.            วิธีการ/สอดคล้องกับพัฒนาการ => หลากหลาย =>กระบวนการ/เทคนิค=> ทักษะวิทย์  โครงการ  ประกอบอาหาร
                                                                                             สื่อ=> ทดลอง=> สื่อแห้ง   กิจกรรม
                                                                                                 =>    เรียนรู้เอง

4.            เนื้อหา/สอดคล้องกับหน่วย =>  เรื่องใกล้ตัว
มีลำดับขั้นตอน                       
  1. ครั้งที่ 9 วันที่ 16 สิงหาคม 2554

ส่งงานที่อาจารย์สั่งในสัปดาห์ที่ผ่านมา  ของเล่นวิทยาศาสตร์ พร้อมทั้งวิธีการทำ  และดู VDO เรื่องแสง


 เราสามารถมองเห็นสิ่งต่างๆ ได้ก็เพราะ


          แสงเป็นคลื่นชนิดหนึ่ง แสงเคลื่อนที่ได้เร็วมาก


ทำไมแสงทำให้เรามองเห็นได้


เราจะมองเห็นสิ่งที่ต่างๆได้เนื่องจากมีแสงส่องมาตกกระทบกับวัตถุแล้วสะท้อนเข้าตาของเราแล้วทำให้เรามองเห็น กับวัตถุนั้นๆ 


คุณสมบัติของแสง



  1.   การเดินทางเป็นเส้นตรง (Rectilinear propagation) 
  2.  การหักเห (Refraction) 
  3.  การสะท้อน (Reflection) 
  4. การกระจาย (Dispersion) 
แสงกระทบวัตถุ 3 ชนิด

  1. วัตถุโปร่งแสง
  2. วัตถุโปรงใส
  3. วัตถุทึบแสง
ประโยชน์ของแสง


1. ประโยชน์จากแสงทางตรง   เช่น  การทำนาเกลือ  การทำอาหารตากแห้ง  การตากผ้า  การฆ่าเชื้อโรคในน้ำดื่ม ต้องอาศัยความร้อนจากแสงอาทิตย์  การแสดงหนังตะลุง และภาพยนตร์ ต้องใช้แสงเพื่อทำให้เกิดเงาบนจอ  การมองเห็นก็ถือเป็นการใช้ประโยชน์จากแสงทางตรง

2. ประโยชน์จากแสงทางอ้อม   เช่น ทำให้เกิดวัฏจักรของน้ำ  (การเกิดฝน)  พืชและสัตว์ที่เรารับประทาน ก็ได้รับการถ่ายทอดพลังงานมาจากแสงอาทิตย์
  



การสะท้อนของแสง



  1. แสงจะสะท้อนไปทิศตรงข้าม
  2. เงาในกระจกเกิดจากการสะท้อน
  3. สามารถเอาไปใช้ในเรือดำน้ำ


การหักเหของแสง



  1. การเปลี่ยนทิศทาง
  2. มองวัตถุต่างไปจากเดิม
  3. สามารถใช้ทำเลน มีประโยชน์ในการขยาย
  4. เลนนูนใช้รวมแสง และใช้จุดไฟได้

ครั้งที่ 8 วันที่ 9 สิงหาคม 2554
 ไม่มีการเรียนการสอน สอบกลางภาค

วันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 7 วันที่ 2 สิงหาคม 2554



ในการเรียนวันนี้อาจารย์ให้ส่งงาน  ที่สั่งไว้ในครั้งที่แล้วหลังจากนั้น อาจารย์ให้ออกมานำเสนองานของตนเอง ว่ามีวิธีการเล่น และวิธีการทำของเล่นอย่างไรบ้าง  อาจารย์ก็ให้ขอเสนอแนะและข้อปรับปรุงของแต่ละคนว่าต้องเพิ่มเติมตรงไหนบ้าง  ส่วนของดิฉันอาจารย์ให้ไปหาข้อมูลความรู้เพิ่มเติม

อุปกรณ์ในการทำนักดำน้ำ



นักดำน้ำ
อุปกรณ์
1.               หลอดกาแฟพลาสติก
2.                เทปกาว
3.                กรรไกร
4.               ขวดพลาสติก(ใส่น้ำดื่มหรือน้ำอัดลม)ขนาด 1.25 ถึง 2 ลิตร น้ำ
5.                ดินน้ำมัน
6.               แก้วใส่น้ำ

ขั้นตอนการทำ
1.               ตัดหลอดกาแฟมายาวสัก 3-4 นิ้ว แล้วพับให้ข้างหนึ่งยาวกว่าอีกข้างสักครึ่งนิ้วหรือหนึ่งนิ้ว
2.                เอาเทปกาวมาติดให้หลอดพับอยู่แบบนั้น
3.                จากนั้นก็ตัดปลายหลอดข้างที่ยาวให้เป็นสองแฉกเท่าๆกัน แล้วพับแฉกหนึ่งขึ้น (หรือตัดทิ้งก็ได้)
4.               แล้วเอาดินน้ำมันมาติดแฉกที่เหลือ (สาเหตุที่เราตัดปลายหลอดข้างยาวเป็นแฉกๆก็เพราะว่าเราไม่ต้องการให้ดินน้ำมันมาอุดปลายหลอดกาแฟ ตอนเราเอาดินน้ำมันมาติด)
5.               จากนั้นเราก็เอาน้ำใส่แก้วสักค่อนแก้ว แล้วเอาหลอดกาแฟติดดินน้ำมันไปลองลอยดู ถ้ามันจม เราก็เอาดินน้ำมันออก

เป็นวิทยาศาสตร์อย่างไร
                การที่วัตถุสามารถลอยอยู่ในน้ำได้เนื่องจากวัตถุนั้นมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำและน้ำก็มีแรงดันวัตถุให้ลอยขึ้นมา แรงนี้เรียกว่า แรงลอยตัว  ซึ่งแรงนี้จะขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำที่วัตถุนั้นแทนที่ ยิ่งวัตถุมีแรงสัมผัสกับน้ำมากเท่าไรหรือเข้าไปแทนที่น้ำได้มาก(สังเกตปริมาณน้ำจะเพิ่มขึ้น) ความหนาแน่นของวัตถุจะลดลง และแรงลอยตัวจะเพิ่มขึ้น วัตถุจึงลอยตัวในน้ำได้

ประโยชน์ที่ได้รับ
1.               เด็กได้รู้จักการจม/การลอยของวัตถุในน้ำ
2.               เด็กได้รู้จักคำศัพท์ทางวิทยาศาสตร์
3.               เด็กได้แบ่งปันของเล่น
ความรู้ที่ได้รับ
บรรยากาศในห้องเรียน

วันอังคารที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 6 วันที่ 26 กรกฎาคม 2554

งานที่ได้รับมอบหมาย


1)อาจารย์ให้แต่ละคนเขียน โครงการ ลดละเลิก เหล้า บุหรี่ และสิ่งเสพติด มีหัวข้อดังนี้
1. หลักการและเหตุผล
2. วิธีการดำเนินกิจกรรม (1. สถาที่ให้ความรู้ 2.สถานที่จะทดลอง 3. กำหนดที่ที่จะเดินรณรงค์ 4. ทำ                   ไปรษณียบัตร 5. นำไปรษณียบัตรที่วาดเสร็จแล้วส่งให้คนที่เรารัก )
3. สื่อและอุปกรณ์ที่ใช้
4. ประโยชน์ที่ได้รับ
5. การประยุกต์ใช้

2)ให้นำกระดาษ 4 แผ่นมาส่ง โดยมีรายละเอียด ดังนี้

  • ให้ตีเป็นตาราง เป็น 2 ส่วน
  •  แผ่นที่ 1 ให้เขียนชื่่อ-นามสกุล  เลขที่ กลุ่มเรียน เขียนลำดับที่ 1-3
  •  แผ่นที่ 2  ให้เขียนลำดับที่ 4-7
  •  แผ่นที่ 3  ให้เขียนลำดับที่ 8-11
  • แผ่นที่ 4  ให้เขียนลำดับที่ 12-15
3) ให้เขียนชื่อการทดลอง วิธีการทำ อุปกรณ์ ประโยชน์ที่ได้รับ(เป็นงานกลุ่ม

หลังจากที่อาจารย์มอบหมายงานเสร็จ ก็ได้สอนเนื้อหาจาก Power Point ดังนี้
 
เด็กปฐมวัย
- วัยที่อยากรู้อยากเห็น
- วัยที่มีการพัฒนาทางสติปัญญาทีสุดของชีวิต
- แสวงหาความรู้สามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว


ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์


เป็นทักษะที่ส่งเสิมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหาเหตุผล แสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาได้ตามวัยของเด็ก ควรจัดกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือกระทำด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว



1. ความหมายทักษะการสังเกต

ทักษะการสังเกต คือ การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกาย เข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุ

2. ความหมายทักษะการจำแนก


เป็นความสามารถในการแบ่งประเภท โดยหาเกณฑ์
2.1 ความเหมือน
2.2 ความแตกต่าง
2.3 ความสัมพันธ์ร่วม
3. ความหมายทักษะการวัด



การใช้เครื่องมือต่างๆ วัดหาปริมาตรของสิ่งที่เราต้องการทราบได้อย่างถูกต้อง โดยมีหน่วยวัดกำกับ
3.1 รู้จักกับสิ่งของที่จะวัด
3.2 การเลือกเครื่องมือที่นำมาใช้วัด
3.3 วิธีการที่เราจะวัด

4.ความหมายทักษะการสือความหมาย

การพูด การเขียน รูปภาพ และภาษาท่าทาง การแสดงสีหน้า ควมสามารถรับข้อมูลได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
4.1 บรรยายลักษณะคุณสมบัติของวัตถุ
4.2 บันทึกการเปลี่ยนของวัตถุได้
4.3 บอกความสัมันธ์ของข้อมูลที่ได้จัดกระทำ
4.4 จัดกระทำข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ( อาจทำเป็นเชิงรูปภาพ เช่น จากหนอนกลายเป็นผีเสื้อ )

5. ความหมายทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล

     การเพิ่มเติมความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่มีอยู่อย่างมีเหตุผล โดยอาศัยจากความรู้หรือประสบการณ์

6. ความหมายทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา

การรู้จักเรียนรู้ 1 มิติ 2 มิติ 3 มิติ การเขียนภาพ 2 มิติ แทนรูป 3 มิติ การบอกทิศทาง การบอกเงาที่เกิดจากภาพ 3 มิติ การเห็นและเข้าใจภาพที่เกิดบนกะจกเงา การหาความสัมพันธุ์ระหว่างสเปสกับเวลาสำหรับเด็กปฐมวัย เช่น
6.1 ชี้บ่งภาพ 2 มิติ และ 3 มิติ
6.2 บอกความสัมพันธุ์ระหว่างทิศทางของวัตถุ
6.3 บอกตำแหน่งหรือทิศทางของวัตถุ

7. ความหมายทักษะการคำนวณ

ความสามารถในการนับจำนวน ของวัตถุ การบวก ลบ คูณ หาร การนับจำนวนของวัตถุ การนับจำนวนตัวเลขมากำหนดบอกลักษณะต่างๆ เช่น ความกว้าง ความยาว
7.1 การนับจำนวนของวัตถุ7.2 การบวก ลบ คูณ หาร
7.3 การนำจำนวนตัวเลขมากำหนดหรือบอกลักษณะต่างๆของวัตถุ

ทำไมต้องสอนวิทยาศาสตร์

  1.  มาตราฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย
  2.  หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 (แนวทางในการวัดประสบการณ์เพือให้ได้คุณลักษณะอันพึ่งประสงค์)
  3.  ความจำเป็นที่จะต้องไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ยกตัวอย่างเรื่อง "ส้มโอ"


ความรู้ที่ได้รับ


บรรยากาศในห้องเรียน

วันอังคารที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 5 วันที่ 19 กรกฎาคม 2554

     อาจารย์ให้นำเสนองานที่ยังไม่เสนอในครั้งที่ผานมา แต่เมื่อนำเสนอกิจกรรมของแต่กลุ่ม อาจารย์ก็มีข้อแนะนำในข้อบกพร่องของแต่ละกลุ่มเพื่อปรับปรุงและใช้ในครั้งต่อไป


ข้อพกพร่องของกลุ่มดิฉัน คือ 

  1. ไม่ได้แนะนำสมาชิกในกลุ่ม
  2. ไม่มีที่มาของกิจกรรม
  3. ข้อมูลไม่ชัดเจน
อาจารย์แนะนำวิธีการนำแนะชื่อสมาชิกในกลุ่ม คือ 

  1. ต้องแนะนำจากด้านขวาสุดมือของผู้พูด
  2. คนถัดมาจากขวามือผู้พูด
  3. คนด้านซ้ายมือสุดของผู้พูด
  4. คนถัดมาจากซ้ายมือ
  5. และตัวผู้พูดเป็นคนสุดท้ายในการแนะนชื่อ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีดังนี้

  1. ตั้งสมมติฐาน
  2. ตั้งคำถาม
  3. ทดลอง
  4. ลงมือปฎิบัติ
  5. สังเกต
  6. บันทึกผล
  7. สรุป
  8. บันทึกเทียบกับสมมติฐาน
วิทยาศาสตร์ที่จัดให้เด็ก

  1. ความรู้ ข้อเท็จจริง
  2. ทักษะทางวิทยาศาสตร์
สิ่งที่สอนเด็ก

  1. เรื่องใกล้ตัวเด็ก(อาจเป็นเรื่องพืชในท้องถิ่น)
  2. สิ่งที่เด็กอยากรู้
  3. สิ่งที่มีผลกระทบต่อเด็ก
หลังจากนั้น>>>  โครงการ ลด ละ เลิก เหล้า บุหรี่ และสิ่งเสพติด ถวายพ่อหลวง 84 พรรษา


1.หลักการและเหตุผล


2.การเขียน 

  •  เหล้า บุหรี่ สิ่งเสพติด มีโทษอย่างไร
  • กระทบกับเด็กอย่างไร
  • รณรงค์เพื่ออะไร
    เพลงรณรงค์สิ่งเสพติด
    มา มา มา พวกเรามา ลด ละ เลิก เหล้า เบียร์  (ซ้ำ)


    บุหรี่ และ สิ่่งเสพติด  (ซ้ำ)


    เพื่อตัวเรา และ เพื่อในหลวง




    ความรู้ที่ได้รับ


    บรรยาการในห้องเรียน

    ครั้งที่ 4 วันที่12 กรกฎาคม 2554

    นำเสนองานอีก 1 ครั้ง จากที่ไม่ผ่านเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว  วันนี้กลุ่มของดิฉัน ได้ทำกิจกรรมเกี่ยวกับ
    "การหายใจ"  โดยมีอุปกรณ์และขั้นตอนการทำ  ดังนี้...
          อุปกรณ์

    1.  ขวดน้ำ
    2. ลูกโป่ง ลูกเล็กและลูกใหญ่ อย่างละ 1 ลูก
    3. ยางรัดของ
    4. กรรไกร
    5. คัสเตอร์





         ขั้นตอนการทำ




                                                       ตัดขวดน้ำทิ้งในส่วนก้นขวด(คุณครูช่วย)






    ใส่ลูกโป่งใบเล็กไว้ข้างในขวดยืดปากลูกโป่งให้ครอบปากขวดไว้ แล้วใช้ยางรัดให้แน่น สมมติว่าลูกโป่งก็คือ ปอด



                                        ตัดลูกโป่งใบใหญ่สองส่วน เอาส่วนปากทิ้ง(คุณครูช่วย)



    คว่ำขวดลง ดึงลูกโป่งส่วนก้นให้เป็นแผ่นกว้าง แล้วครบแทนก้นที่ตัดทิ้งไป จับขอบที่คลุมรอบขวดแล้วใช้ยางรัดให้แน่น สมมติว่าแผ่นลูกโป่ง คือ กะบังลม






    ใช้มือข้างหนึ่งถือขวดให้ตั้งขึ้นแล้วอีกมือหนึ่งดึงลูกโป่ง สังเกตเห็นว่าเวลาดึงแผ่นลูกโป่งที่แทนกระบังลมลงลูกโป่งซึ่งแทนปอดก็จะพองขึ้น

                                                                                จากหนังสือ โครงงานวิทย์ปฐมวัย