วันอังคารที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 15 วันที่ 27 กันยายน 2554

อาจารย์สรุปเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนมาทั้งหมด
        การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

-หลักการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์

-การสอนแบบโครงการ

-ความหมายวิทยาศาสตร์

-สื่อวิทยาศาสตร์

-ทักษะวิทยาศาสตร์

-ของเล่นวิทยาศาสตร์

-การเขียนแผนการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์

-การทำโครงการวิทยาศาสตร์

-การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์

-การจัดนิทรรศการ

-การประเมินทางวิทยาศาสตร์


  • การสังเกต เครื่องมือ : แบบประเมิน/แบบบันทึกการสังเกต
  • สนทนา/ซักถาม เครื่องมือ : แบบสอบถาม/แบบบันทึก
  • ผลงาน/ชิ้นงานของเด็ก
ครั้งที่ 14 วันที่ 20 กันยายน 2554

อาจารย์เปิดตัวอย่างงานวิจัยให้ดู
            ประสบการณ์สำคัญ (โอกาสที่เด็กได้กระทำในการกระทำนั้นๆ)
1.            การแยกแยะ
2.            สังเกต
3.            การวัด
4.            สื่อความหมาย
5.            กระทำต่อวัตถุ
6.            จัดหมวดหมู่

ชนิด
กล้วยน้ำละว้า
กล้วยไข่
กล้วยเล็บมือนาง

ลักษณะ

เปลือกเหลือง
เปลือกเหลือง
เปลือกเหลือง
เนื้อแน่น
เนื้อเหลือง
เนื้อขาว
ลูกใหญ่
ลูกเล็ก
ลูกเล็กงอ


ความรู้ที่ได้รับ



ครั้งที่ 13 วันที่ 13 กันยายน 2554

วันนี้อาจารย์ให้ส่งแผนกลุ่ม โดย กลุ่มของดิฉัน เขียนแผน เรื่องหน่วยกล้วย และอาจารย์ถามว่าเรื่องที่เราเอามานั้นเอามาจากไหน หัวข้อเรื่องที่เราจะนำมาสอนเราก็ต้องดูจาก สาระการเรียนรู้ ซึ่งประกอบไปด้วย
1.            สิ่งที่อยู่รอบตัวเด็ก
2.             เรื่องราวเกี่ยวกับเด็ก
3.             บุคคลและสถานที่
4.            ธรรมชาติรอบตัว
 และในแผนการสอนมีส่วนประกอบอะไรบ้างที่เด็กต้องเรียนรู้ สิ่งที่เด็กต้องเรียนรู้ มีดังนี้
1.            วัตถุประสงค์
2.            สารการเรียนรู้
3.            ประสบการณ์สำคัญ
4.            กิจกรรมการสอน
          - ขั้นนำ
          - ขั้นสอน
          - ขั้นสรุป
สมรรถณะของเด็กประกอบไปด้วย
1.            ด้านร่างกาย : การปีนป่าย การเคลื่อนไหว
2.            อารมณ์/จิตใจ : แสดงความรู้สึก รับรู้ การกระทำ
3.            สังคม : การทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น แบ่งปัน
4.            ภาษา : การพูด การสื่อสาร
5.            วิทยาศาสตร์ :  การให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
6.            คณิตศาสตร์ : การวัด คาดคะเน
7.            สร้างสรรค์ :  การทำงานศิลปะสร้างสรรค์ จินตนาการ
ประสบการณ์สำคัญสำคัญของเด็กประกอบไปด้วย
1.            กิจกรรมการเคลื่อนไหว
2.            กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ( ด้านสติปัญญา ทักษะที่สำคัญ )
3.            กิจกรรมกลางแจ้ง
4.            กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
5.            กิจกรรมเสรี
6.            กิจกรรมเกมการศึกษา




ครั้งที่ 12 วันที่ 6 กันยายน 2554

ส่งงาน ของเล่นจากแกนทิชชู และแผนการสอนแบบโครงการ
งานอีก 1 ชิ้น เขียนแผนการสอนมา 1 สัปดาห์ เป็นกลุ่มๆ ละ 5 คน




ดู VCD หนูจ๋า
น้ำเป็นส่วนประกอบของร่างกาย
การทอดลอง > เอกแครรอทมาหันแล้วปั่น มีน้ำออกมา
ร่างกาย น้ำ 70%
ผักผลไม้ น้ำ 90%
ร่างกายขาดน้ำไม่ได้ ทำให้อ่อนเพลีย
ปรับสมดุลร่างกาย โดยการดื่มน้ำ
มนุษย์ขาดน้ำได้ 3วัน
อูฐขาด้ำได้ 10 วัน

น้ำมี 3 สถานะ
ของแข็ง
เหลว คือ น้ำที่เราดื่ม
ก๊าซ คือ ไอน้ำ

การทอดลอง > ต้มน้ำให้เดือด จนเหลว กลายเป็นไอ เอาจานมาวางใส่น้ำแข็งมาวาง จะมีหยดน้ำ
การเปลี่ยนสถานะของเหลว กายเป็นไอ
โมเลกุลน้ำ
โมเลกุลน้ำแข็ง
น้ำเกลือมีความหนาแนนกว่าน้ำธรรมดา

ฝน คือ ไอน้ำที่ลอยตัวขึ้นไปบนฟ้าแล้วรวมตัวกันกลายเป็นก้อนเมฆ

ความกดดันของน้ำ
น้ำลึกความกดดันยิ่งมาก เช่น เอาน้ำใส่ขวดให้เต็มแล้วจะรู 3 ระดับ ในแนวเดียวกัน น้ำแต่ละรู้จะพุ่งด้วยความไกลต่างกัน เช่น การสร้างเขื่อน

ระดับน้พเท่ากันเพราะแรงดันเท่ากัน มันจะรักษาระดับ เช่น การสร้างบ้าน

แรงดึงผิว

วัตถุสามารถลอยตน้ำในวัตถุที่ไม่หนักมาก เพราะมีแรงตึงน้ำที่ยืดหยุ่น